Close Menu
The Practical

    Subscribe to Updates

    Get the latest creative news from FooBar about art, design and business.

    What's Hot

    ประกันสุขภาพจำเป็นหรือไม่? และส่งผลดีต่อคนทำงานในยุคนี้อย่างไร?

    พฤษภาคม 19, 2025

    ประกันสุขภาพของบริษัทใช้ร่วมกับประกันสังคมแต่ยังต้องจ่ายเพิ่มหรือเปล่า?

    พฤษภาคม 19, 2025

    Flashcards สมัยใหม่ ทำให้คุณใช้คำศัพท์ภาษาอังกฤษเป็นทันทีได้อย่างไร?

    กุมภาพันธ์ 7, 2025
    Facebook YouTube Spotify Pinterest
    Facebook YouTube Spotify
    The Practical
    Login
    • Home
    • Work
    • Life
      • Finance and Investment
      • Guarantee
      • Labor Law
      • Real Estate
    • Balance
      • Book Reviews
      • Movie Reviews
      • Product Reviews
    • Sustainability
      • DJSI
      • SDGs
    • People Stories
      • Happy Growth
      • Others
      • Transformative Learning
      • UNMASK STORY
      • Vision Mission
    • InMind
    • Podcast
    The Practical
    • Home
    • Work
    • Life
    • Balance
    • Sustainability
    • People Stories
    • InMind
    • Podcast
    Home»Balance»Work – ประวัติศาสตร์แห่งการทำงาน (ไปทำไม) โดย James Suzman
    Balance

    Work – ประวัติศาสตร์แห่งการทำงาน (ไปทำไม) โดย James Suzman

    mypilottest01By mypilottest01มกราคม 1, 2024ไม่มีความเห็น1 Min Read
    Facebook Twitter Pinterest LinkedIn Tumblr WhatsApp VKontakte Email
    Work - ประวัติศาสตร์แห่งการทำงาน (ไปทำไม) โดย James Suzman
    Share
    Facebook Twitter LinkedIn Pinterest Email

    Work เขียนโดย James Suzman เป็นหนังสือที่ท้าทายแนวคิดเดิมๆ ในเรื่องแรงงานและประสิทธิภาพในการทำงาน โดยหนังสือเล่มนี้จะพาผู้อ่านเดินทางสู่ประวัติศาสตร์ที่เกียวกับการทำงานอันน่าหลงใหล และสำรวจแนวปฏิบัติของวัฒนธรรมพื้นเมืองและข้อมูลเชิงลึกที่ลึกซึ้ง

    ผู้เขียน Suzman ตั้งคำถามถึงความหลงใหลในสมัยใหม่กับการทำงานอย่างไม่หยุดยั้ง และเน้นย้ำถึงภูมิปัญญาของแนวทางที่ยั่งยืนและขับเคลื่อนตามวัตถุประสงค์ ซึ่งพบได้ในหลายสังคมทำงาน อาทิเช่น ชาวซานทางตอนใต้ของแอฟริกา และชาว Hadza ในประเทศแทนซาเนีย

    หนังสือเล่มนี้ สนับสนุนให้เราสำรวจความสมดุลระหว่างการทำงานและการพักผ่อน สนับสนุนให้เกิดการบูรณาการงานเข้ากับชีวิตประจำวัน และความสำคัญของพิธีกรรมในการส่งเสริมความหมายและการเชื่อมโยงผ่านตัวอย่างที่ชัดเจน เรื่องราวของ Suzman สะท้อนถึงผลกระทบของเทคโนโลยี ลัทธิบริโภคนิยม และการแสวงหาความสุข โดยเสนอการสำรวจที่กระตุ้นความคิดว่าเราจะเปลี่ยนมุมมองในการทำงานเพื่อมีชีวิตที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้นได้อย่างไร?

    “งานที่สำคัญมีหลายอย่างที่คุณต้องทำ แต่คุณคงเป็นคนพลาดมากๆ ที่รับงานอื่นไปทำ โดยเฉพาะถ้างานนั้นมันไม่จำเป็น หรือ ไม่ได้อยู่ภายใต้การรับผิดชอบของคุณ”

    ต่อไปนี้เป็นบทเรียนสำคัญ 10 บทเรียน ที่ได้เรียนรู้จาก หนังสือ “งาน” โดย James Suzman ที่พวกเราสามารถนำไปใช้กับงานและชีวิตของเราได้:

    1. สร้างสมดุลระหว่างการทำงาน กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่คุณอาศัยอยู่: ปรับตัว สร้างจุดสมดุล ให้คุณสามารถทำงาน ไปพร้อมๆ กับการดำเนินชีวิตที่มีความสุข ในแบบฉบับของตัวคุณเองได้ ใช้ประโยชน์จากพลังจากธรรมชาติ เช่น ช่วยในการผ่อนคลายความเครียด หรือ เพิ่มคุณภาพในการพักผ่อน หย่อนใจ เป็นต้น

    2. ค้นหาจุดมุ่งหมายในการทำงาน: เพราะ งานเป็นมากกว่า การทำเพื่อการอยู่รอด แต่การทำงานนั้นมันมีความหมายมากกว่า มันสามารถสร้างความรู้สึกที่ดี มีส่วนร่วม และ สร้างการมีตัวตนของคุณในสังคมที่คุณทำงานอยู่ได้

    3. ให้ความสำคัญกับคุณภาพมากกว่าปริมาณ: คิดเสียใหม่เกี่ยวกับเรื่องประสิทธิภาพในการทำงาน เพราะมันไม่ได้เกี่ยวกับการทำงานที่นานขึ้นและหนักขึ้น แต่มันเป็นเรื่องของคุณภาพที่แสดงออกมาในรูปแบบของผลงาน ซึ่งเป็นตัวบ่งบอกถึงความสำเร็จในสิ่งที่คุณทำ

    4. ชีวิตต้องการพักผ่อน: เข้าใจถึงความสำคัญของการพักผ่อน เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีและเพื่อรักษาประสิทธิภาพการทำงาน เพราะมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของการสร้างชีวิตที่สมดุล

    5. ใช้ชีวิตแบบผสมผสานทั้งเรื่องงานและชีวิตในแบบฉบับของคุณเอง: ท้าทายความเชื่อผิดๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องสมดุลระหว่างชีวิตและงาน ที่ว่าต้องหารสอง หรือ ต้องแบ่งครึ่ง มันเป็นหน้าที่ของคุณ ที่จะต้องพยายามผสมผสานงานเข้ากับชีวิตของคุณ ในสูตรลับของคุณเอง ที่ทำให้ทั้งสองด้านเดินหน้าต่อไปได้อย่างราบรื่น

    6. รู้จักแบ่งปันและให้ความร่วมมือกับคนอื่นบ้าง: การให้ การช่วยเหลือ การสนับสนุน ในสิ่งที่คุณสามารทำได้ จะช่วยยกระดับคุณภาพจิตใจ และ ทำให้คุณรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่ามากขึ้น และ ในทางกลับกัน การเป็นผู้ให้ ก็ทำให้ภาพลักษณ์ของคุณในสังคมที่คุณอยู่ดีขึ้นได้อีกด้วย

    7. เข้าใจ รู้จักใช้เทคโนโลยี: อย่าตกเป็นทาสของมัน จงใช้มันเหมือนมันเป็นผู้ช่วยของคุณ รู้จักนำเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์เพื่อทำให้งานและชีวิตราบรื่นมากขึ้น

    8. รู้จักเลือก รู้จักใช้ ส่ิงของอย่างมีสติ: อยากมี หรือ อยากได้ เป็นเรื่องไม่ผิด แต่การจะมี หรือ จะได้ ก็ต้องพิจารณาว่าสิ่งเหล่านั้นมันจำเป็นกับคุณจริงๆ หรือ ไม่ การบริโภคนิยมมากเกินไป สามารถนำไปสู่การทำงานหนักและความเครียดได้ เพราะคุณต้องทำงานหนักมากเพื่อหาเงินมาใช้กับสิ่งที่ไม่จำเป็น หรือ มาใช้หนี้ที่เกิดจากของที่ไม่จำเป็น

    9. ใช้ชีวิตอย่างมีความหมาย: ทำงาน อย่าแต่ทำให้ผ่านไปในแต่ละวัน แต่จงทำงานในแต่ละวันให้มีความหมาย ทำไปเพื่ออะไร เพื่อใคร และ ทำให้สุดฝีมือ เสมือนกับว่า งานนั้นคือ ศิลปะที่คุณสร้างขึ้นมาเพื่อให้ทุกคนจดจำ

    10. ความสามารถในการปรับตัว คือ สิ่งที่คุณจำเป็นต้องมี: คนที่มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี จะเปิดรับการเปลี่ยนแปลงและความเจริญรุ่งเรืองในสภาวะที่หลากหลายได้มากกว่าคนที่ไม่กล้าเปลี่ยน หรือ กลัวการเปลี่ยนแปลง

    “ในยุคนึง มีความเชื่อว่า การทำงานหนักได้รับการยกย่องว่าเป็นคนซื่อสัตย์ แต่ปัจจุบันการทำงานหนักถือเป็นงานของคนโง่ ที่ไม่ยอมหาหนทางที่จะทำงานให้ดีขึ้นโดยใช้เวลาที่น้อยลง หรือ เหนื่อยน้อยลง”

    เรื่องของงาน วัดที่ผลของงาน คนที่บริหารจัดการได้ดี และใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด แต่สร้างผลลัพธ์ดีที่สุด คือ ผู้ชนะ!

    จาก หนังสือ “WORK ประวัติศาสตร์แห่งการทำงาน (ไปทำไม)”

    รายละเอียดเพิ่มเติม https://shope.ee/509fLt13Ur

    บทความแนะนำ:

    Time Management Mistakes – ข้อผิดพลาดในการจัดการเวลาที่คุณกำลังทำอยู่

    Book Review
    Share. Facebook Twitter Pinterest LinkedIn Tumblr WhatsApp Email
    Previous ArticleKey Performance Indicator (KPI) – ใช้อย่างไร และ ทำอย่างไรจึงจะได้ผล?
    Next Article The Deepest Well – ลบบาดแผลลึกสุดใจ: แนวทางการเยียวยาแผลใจในวัยเด็ก
    mypilottest01

      Related Posts

      ปลดล็อกศักยภาพ กับ 60 บทเรียนชีวิตจาก Adam Grant

      มกราคม 6, 2025

      การจัดการเวลาแนวใหม่ : กลยุทธ์จาก Deep Work โดย Cal Newport

      กันยายน 4, 2024

      การปฏิวัติความสำเร็จ ในที่ทำงาน: กลยุทธ์จาก Atomic Habits โดย James Clear

      กันยายน 3, 2024

      The SPEED of Trust: ความไว้วางใจ สิ่งเดียวที่เปลี่ยนแปลงทุกอย่างได้

      มิถุนายน 17, 2024

      Comments are closed.

      Our Picks

      ตั้งเป้าหมายการเงินให้สำเร็จ – วิธีการและเคล็ดลับจากประสบการณ์จริง

      มิถุนายน 22, 2024

      ลาเพื่อพาพ่อแม่ไปหาหมอ หรือ ลาเพื่อไปดูใจพ่อแม่เป็นครั้งสุดท้าย ใช้ลากิจได้

      สิงหาคม 18, 2023

      แผนการเกษียณ ของคน Gen Z ควรเป็นอย่างไร? และต้องเริ่มต้นอย่างไร?

      มิถุนายน 6, 2023

      7 เหตุผลที่ทำให้คนฉลาดหรือคนที่ทำงานหนักไม่ใช่คนที่ประสบความสำเร็จ

      พฤษภาคม 30, 2023
      • Facebook
      • Pinterest
      • Instagram
      • YouTube
      Don't Miss

      ประกันสุขภาพจำเป็นหรือไม่? และส่งผลดีต่อคนทำงานในยุคนี้อย่างไร?

      By willskillพฤษภาคม 19, 20250

      ประกันสุขภาพ หร…

      ประกันสุขภาพของบริษัทใช้ร่วมกับประกันสังคมแต่ยังต้องจ่ายเพิ่มหรือเปล่า?

      พฤษภาคม 19, 2025

      Flashcards สมัยใหม่ ทำให้คุณใช้คำศัพท์ภาษาอังกฤษเป็นทันทีได้อย่างไร?

      กุมภาพันธ์ 7, 2025

      จำไม่ให้ลืม | ทำไมคนที่พูดได้หลายภาษาจำคำศัพท์แล้วไม่ลืม?

      กุมภาพันธ์ 3, 2025

      Subscribe to Updates

      Get the latest creative news from SmartMag about art & design.

      About Us
      About Us

      Your source for the lifestyle news. This demo is crafted specifically to exhibit the use of the theme as a lifestyle site. Visit our main page for more demos.

      We're accepting new partnerships right now.

      Email Us: admin_thepractical@thepractical.co

      Our Picks

      ตั้งเป้าหมายการเงินให้สำเร็จ – วิธีการและเคล็ดลับจากประสบการณ์จริง

      มิถุนายน 22, 2024

      ลาเพื่อพาพ่อแม่ไปหาหมอ หรือ ลาเพื่อไปดูใจพ่อแม่เป็นครั้งสุดท้าย ใช้ลากิจได้

      สิงหาคม 18, 2023

      แผนการเกษียณ ของคน Gen Z ควรเป็นอย่างไร? และต้องเริ่มต้นอย่างไร?

      มิถุนายน 6, 2023
      New Comments
        Facebook YouTube Spotify Pinterest
        • Home
        • Work
        • Life
        • Balance
        • Sustainability
        • People Stories
        • InMind
        • Podcast
        © 2025 Willskill. Designed by Exaalgia.

        Type above and press Enter to search. Press Esc to cancel.

        Sign In or Register

        Welcome Back!

        Login to your account below.

        Lost password?